กว่าจะเป็น “พลาสติกชีวภาพทางการแพทย์” ชีวิตจริงของนักวิจัยกับ “นวัตกรรม” ที่สร้างคุณค่า - มูลค่าอย่างยั่งยืน

“พลาสติกชีวภาพทางการแพทย์” นวัตกรรมที่สร้างคุณค่า-มูลค่าอย่างยั่งยืน

.

เส้นทางการคิดค้นนวัตกรรมใหม่

“ต้องเป็นอะไรที่คนไม่ค่อยทำ และต้องมีประโยชน์”

รองศาสตราจารย์ ดร.วินิตา บุณโยดม

.

วัสดุอุปกรณ์ และเมล็ดพลาสติกชีวภาพเกรดทางการแพทย์ อยู่ในอุตสาหกรรมพลาสติกที่มีมูลค่าสูง อีกทั้งมีอัตราการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว แต่ประเทศไทยนั้นยังต้องนำเข้าวัสดุทางการแพทย์เหล่านี้จากต่างประเทศ จึงทำให้นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เล็งเห็นและทุ่มเททำงานวิจัยโดยใช้เวลากว่า 20 ปี จนเกิด “ห้องปฏิบัติการผลิตพลาสติกชีวภาพสำหรับใช้ทางการแพทย์”เพื่อคิดค้นพัฒนาการผลิตเม็ดพลาสติกชีวภาพในประเทศไทยได้สำเร็จ

.

สิ่งสำคัญที่ทำให้การสร้างนวัตกรรมนี้ประสบความสำเร็จ คือการไม่ยอมแพ้ และไม่ล้มเลิกความตั้งใจที่จะสร้างประโยชน์อย่างยั่งยืนให้แก่ส่วนรวม และสร้างแรงบันดาลใจให้แก่นักวิจัยรุ่นต่อ ๆ ไปได้คิดค้นนวัตกรรมที่สร้างทั้งคุณค่าและมูลค่าอย่างยั่งยืนสืบต่อไป

.

อ่านรายละเอียด “พลาสติกชีวภาพทางการแพทย์” นวัตกรรมที่สร้างคุณค่า-มูลค่าอย่างยั่งยืน เพิ่มเติมได้ที่
https://sdgs.cmu.ac.th/th/ArticleDetail/13b7ce78-63c4-4bc7-8c67-e792646b7bd2/adf47cba-a38f-4833-baad-a6c009e9479c?fbclid=IwAR3APjsRcyNpsTvPVQhrUCyIDFIc3jqLSMa2y_pvLx0fsb7xlJsKuDNJdJ4

Powered by Froala Editor